Docchula Community
Docchula Public Board => แนะนำการศึกษาต่อคณะแพทย์จุฬาฯ => Topic started by: bin on December 03, 2009, 07:59:59 pm
-
- กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อหัวใจมีอะไรเหมือนกันหรอค่ะ (นอกจากมีสีแดงเหมือนกัน :D)
-หากกระตุ้นเซลล์ประสาทตรงกลางของ axon แล้วกระแสประสาทจะวิ่งไปแบบไหนค่ะ (ทั้งสองทาง หรือ ปลาย axonอย่างเดียวค่ะ)
ขอบคุณค่ะ
-
- กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อหัวใจมีอะไรเหมือนกันหรอค่ะ (นอกจากมีสีแดงเหมือนกัน :D)
นึกไม่ออกง่ะ - -'
เป็นเซลล์เหมือนกัน
ประกอบด้วย actin, myosin เหมือนกัน
มีคุณสมบัติ contractibility เหมือนกัน
มีคุณสมบัติ excitability เหมือนกัน
-หากกระตุ้นเซลล์ประสาทตรงกลางของ axon แล้วกระแสประสาทจะวิ่งไปแบบไหนค่ะ (ทั้งสองทาง หรือ ปลาย axonอย่างเดียวค่ะ)
สองทางครับ ^^
-
- กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อหัวใจมีอะไรเหมือนกันหรอค่ะ (นอกจากมีสีแดงเหมือนกัน :D)
นึกไม่ออกง่ะ - -'
เป็นเซลล์เหมือนกัน
ประกอบด้วย actin, myosin เหมือนกัน
มีคุณสมบัติ contractibility เหมือนกัน
มีคุณสมบัติ excitability เหมือนกัน
-หากกระตุ้นเซลล์ประสาทตรงกลางของ axon แล้วกระแสประสาทจะวิ่งไปแบบไหนค่ะ (ทั้งสองทาง หรือ ปลาย axonอย่างเดียวค่ะ)
สองทางครับ ^^
เทพจริงๆ พี่เกี๊ยก
ติวชีวะให้บ้างดิ = =
อ่านพี่ tent จบไปรอบนึงล่ะ
:'(
ส่วนวิชาอื่น...
เหอๆๆ
:D
-
- กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อหัวใจมีอะไรเหมือนกันหรอค่ะ (นอกจากมีสีแดงเหมือนกัน :D)
นึกไม่ออกง่ะ - -'
เป็นเซลล์เหมือนกัน
ประกอบด้วย actin, myosin เหมือนกัน
มีคุณสมบัติ contractibility เหมือนกัน
มีคุณสมบัติ excitability เหมือนกัน
-หากกระตุ้นเซลล์ประสาทตรงกลางของ axon แล้วกระแสประสาทจะวิ่งไปแบบไหนค่ะ (ทั้งสองทาง หรือ ปลาย axonอย่างเดียวค่ะ)
สองทางครับ ^^
เทพจริงๆ พี่เกี๊ยก
ติวชีวะให้บ้างดิ = =
อ่านพี่ tent จบไปรอบนึงล่ะ
:'(
ส่วนวิชาอื่น...
เหอๆๆ
:D
อย่างน้อยก็อ่านจบไปแล้ว
ข้าพเจ้ายังไม่จบเลยสักวิชา
แล้วมาเล่นคอม 5555
-
พี่เต๊น ดีจริง ต้องลอง ที่บดินทรเดชายังมีเลย
-
ทำไมเวลากระตุ้นตรงกลาง axon กระแสประสาทถึงไป2ทิศทางครับ
(เป็นอย่างนี้ทุกชนิดเลยป่าวครับ)
??? ???
-
อ่ะ ตามความเข้าใจนะ ไม่รู้ถูกอ๊ะเปล่า ยิ่งโง่ๆอยู่ 555
สมมติมี neuron เซลล์นึง
ถ้าเรากระตุ้น Axon ถึง Threshold มันก็จะเกิด Action potential ใช่ป่ะ
พอจุดที่เรากระตุ้นเกิด AP มันก็จะมีการส่งกระแสประสาทนี้สู่ membrane จุดต่อไป
ซึ่งๆๆ ในกรณีนี้ Axon ทั้ง 2 ทางมีคุณสมบัติเหมือนกันเป๊ะเลย
(มี Voltage-gated Na channel, K channel และบลาๆๆอีกมากมาย)
ดังนั้น กระแสประสาทที่เกิดขึ้นก็ไม่ควรเลือกที่รักมักที่ชังและส่งไปได้ทั้ง 2 ทางป่ะ (งงมะ - -")
ซึ่งทางนึงก็จะไปทางปลาย Axon ไป synapse และส่งกระแสประสาทไปเซลล์ถัดไปตามที่รู้กัน
อีกทางก็ย้อนมาทาง Cell Body แล้วก็สุดแถว ๆ นั้น ส่งไปไหนต่อไม่ได้แหล่ว - -"
ทีนี้ถ้าถามว่าแล้วถ้ามันส่งมาจากทาง Cell Body ไป Axon ทำไมไม่ 2 ทางบ้างล่ะ?
คำตอบก้คือมันมี Refractory Period นั่นเอง การส่งเลยส่งกลับทางเดิมไม่ได้ ไปได้แค่ทางเดียว
จบ พอนึกภาพออกป่ะ? ถ้างงตรงไหนหรือไม่รู้เรื่องเลยหรือคิดว่าผิดก็บอกละกันนะ ^^"
-
อ่ะ ตามความเข้าใจนะ ไม่รู้ถูกอ๊ะเปล่า ยิ่งโง่ๆอยู่ 555
สมมติมี neuron เซลล์นึง
ถ้าเรากระตุ้น Axon ถึง Threshold มันก็จะเกิด Action potential ใช่ป่ะ
พอจุดที่เรากระตุ้นเกิด AP มันก็จะมีการส่งกระแสประสาทนี้สู่ membrane จุดต่อไป
ซึ่งๆๆ ในกรณีนี้ Axon ทั้ง 2 ทางมีคุณสมบัติเหมือนกันเป๊ะเลย
(มี Voltage-gated Na channel, K channel และบลาๆๆอีกมากมาย)
ดังนั้น กระแสประสาทที่เกิดขึ้นก็ไม่ควรเลือกที่รักมักที่ชังและส่งไปได้ทั้ง 2 ทางป่ะ (งงมะ - -")
ซึ่งทางนึงก็จะไปทางปลาย Axon ไป synapse และส่งกระแสประสาทไปเซลล์ถัดไปตามที่รู้กัน
อีกทางก็ย้อนมาทาง Cell body, Dendrite แล้วก็สุดทาง ส่งไปไหนต่อไม่ได้แหล่ว - -"
ทีนี้ถ้าถามว่าแล้วถ้ามันส่งมาจากทาง Dendrite >> Cell Body >> Axon ทำไมไม่ 2 ทางบ้างล่ะ?
คำตอบก้คือมันมี Refractory Period นั่นเอง ณ จุด ๆ นั้นเลยส่งกลับไปทางเดิมไม่ได้ ไปได้ทางเดียว
พอนึกภาพออกมะ ถ้างงตรงไหนหรือไม่รู้เรื่องเลยหรือคิดว่าผิดก็บอกละกัน ฮาๆ
โอ้ว เทพ มา โปรด
-
แล้วกระแสประสาทมันจะย้อนกลับไปที่dendriteเพื่ออารัยอะคับ :-[
ในเมื่อมันก็ไปต่อไม่ได้>,<
หรือว่าพอไปสุดทางแล้วมันจะย้อนกลับมาที่axonใหม่
???
-
ไม่รู้สิครับ อันนี้ต้องลองไปถามเจ้าตัวดู :P
แต่คิดว่าไปสุดแล้วก็คงไม่ย้อนกลับมาหรอกเน่อ - -"
(จริง ๆ มันมาุสุดแถว Axon Hillock อ่ะนะ)
-
(http://img22.imageshack.us/img22/8205/83279338.jpg)
ขอถามมั่ง วันนี้มีน้องมาถาม
ข้อนี้เราเลยบอกไปว่าตอบข้อ 1
-> หลอดเลือดที่ตีบ น่าจะเปน coronary artery ปะ
ใส่เข้าทาง femoral ย้อนไป ก็จะเจอ
แต่น้องบอกว่า หนังสือเฉลยข้อสอบ เฉลยข้อ 2
ก็เลยเริ่มไม่มั่นใจ........ สรุปใครคิดว่าตอบข้อไหนอ่า
-
ก็น่าจะเป็น femoral artery นี่นา ???
-
พี่ปี 4+5 คิดกัน 2 คน ตอบ เหมือนแดนนี่บอย ครับ
-
- กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อหัวใจมีอะไรเหมือนกันหรอค่ะ (นอกจากมีสีแดงเหมือนกัน :D)
-หากกระตุ้นเซลล์ประสาทตรงกลางของ axon แล้วกระแสประสาทจะวิ่งไปแบบไหนค่ะ (ทั้งสองทาง หรือ ปลาย axonอย่างเดียวค่ะ)
ขอบคุณค่ะ
- กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อหัวใจมีอะไรเหมือนกันหรอค่ะ (นอกจากมีสีแดงเหมือนกัน :D)
นึกไม่ออกง่ะ - -'
เป็นเซลล์เหมือนกัน
ประกอบด้วย actin, myosin เหมือนกัน
มีคุณสมบัติ contractibility เหมือนกัน
มีคุณสมบัติ excitability เหมือนกัน
-หากกระตุ้นเซลล์ประสาทตรงกลางของ axon แล้วกระแสประสาทจะวิ่งไปแบบไหนค่ะ (ทั้งสองทาง หรือ ปลาย axonอย่างเดียวค่ะ)
สองทางครับ ^^
มันเป็นเซลล์ที่มีรูปร่างไม่เหมือนกันครับ
อย่างเซลล์กล้ามเนื้อเรียบจะเป็นรูปกระสวย มีนิวเคลียส1อัน
เซลล์กล้ามเนื้อลายจะมีนิวเคลียสหลายอันนิวเคลียสหลายอันทำให้มองไกลๆเห็นเป็นลายเลยเรียกกล้ามเนื้อลาย รูปร่างทรงกระบอก
เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจจะมีรูปร่างเป็นแขนง
รูปร่างที่แตกต่างกันเกิดจากการเรียงตัวของmyofibrilซึ่งทำหน้าที่ยืดหด
myofibrilประกอบด้วยmyofilament 2 ชนิดคือ thick filament(myosin) และ thin filament(actin)
ส่วนการเรียงตัวที่ต่างกันก็เนื่องจากการทำงานของกล้ามเนื้อ3อย่างนี้ใช้ประโยชน์ต่างกันครับ
กล้ามเนื้อเรียบก็จะยืดหดแบบperistalsisซึ่งการเรียงตัวของmyofibrilย่อมต้องเยงตัวอย่างเหมาะสมกับการยืดหดแบบperistalsisอยู่แล้ว นั่นเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมกล้ามเนื้อต่างๆถึงได้มีเซลล์ที่มีรูปร่างแตกต่างกัน
ส่วนการที่เราให้กระแสไฟฟ้าไปที่กลางneuronนั้น มันวิ่งไป2ทาง เพราะการกระตุ้นให้เซลล์ประสาททำงานนั้น เราใช้ความต่างศักย์ ซึ่งความต่างศักย์นี้อาจจะเกิดจาก 1.ความแตกต่างกันของประจุทางเคมีทำให้เกิดความต่างศักย์ 2.ให้กระแสไฟฟ้าเพื่อเพิ่มความต่างศักย์ ณ จุดใดจุดหนึ่ง
ในเซลล์ประสาทจะมีIONอยู่หลายตัว ซึ่งIONเหล่านี้อยู่ในอัตราส่วนที่ทำให้ความต่างศักย์ในเซลล์ประสาทมีค่าๆหนึ่งเท่าทั้งเซลล์ และIONเหล่านี้มีอยู่ในเซลล์ประสาททั่วทั้งเซลล์ในอัตราส่วนเดียวกัน และจะเกิดการถ่ายเทความต่างศักย์เมื่อเราให้ความต่างศักย์ถึงระดับthreshold และเมื่อเราให้ไฟฟ้า(เพิ่มความต่างศักย์) มันก็จะทำให้ความต่างศักย์ ณ จุดที่ให้นั้นเพิ่มขึ้น ซึ่งจะทำให้IONในเซลล์ประสาทนั้นพยายามจะจัดเรียงตัวใหม่เพื่อนำความต่างศักย์กระจายออกไปทุกทิศทางด้วยกลไกเดียวกันและความเร็วเท่ากัน เพื่อรักษาความสมดุลของความต่างศักย์ในเซลล์ให้มีค่าเท่าเดิม เพราะปกติเซลล์ประสาทจะมีค่าความต่างศักย์ค่านึงเท่าๆกันตั้งแต่ cell body ถึง synapse
นึกเอาง่ายๆนะครับ เปรียบเซลล์ประสาทเหมือนท่อน้ำท่อนึง ที่มีน้ำอยู่ 10 ลิตร เมื่อเราเทน้ำลงไปในท่ออีก20ลิตร ณ ตำแหน่งกลางท่อ ช่วงแรกระดับน้ำตรงที่เราเทลงไปมันจะต้องมีระดับสูงขึ้น(เพียงเสี้ยววินาที)และน้ำที่เราเทจะไหลไปยัง2ฝั่งของท่อเพื่อให้ระดับน้ำทั้งหมดในท่ออยู่ในจุดสมดุลและระดับน้ำเท่ากันทุกส่วน มันคือการรักษาสมดุลของธรรมชาติครับ
-
ถ้าพิจารณาเส้นประสาทเป็นวงจรไฟฟ้าแบบ RC ย่อยๆจำนวนอนันต์ต่อกันแล้วใช้ model ของ linear cable theory คิด จะได้สมการอนุพันธ์ย่อย ออกมาสมการหนึ่ง(จริงๆจะได้เป็ระบบสมการย่อย หลายสมการ) ลองไปแก้ดูโดยตั้งเงื่อนไขว่า เราให้การกระตุ้นที่กึ่งกลาง axon จะได้ผลเฉลยว่าความต่างศักย์วิ่งไปทั้งสองทาง เปรียบเทียบเหมืนเวลาหยดน้ำหมึกลงในน้ำเปล่าหมึกก็จะแพร่ไปในทุกทิศทาง แต่ในกรณีนี้เปลี่ยนเป็นประจุไฟฟ้าแทน
-
แล้ว AP ไม่จำเป็นต้องเกิดการ influx ของ Na อ่ะป่ะคับ แบบ ที่ organ of corti อ่ะ ??? ??? ???
-
มันเป็นเซลล์ที่มีรูปร่างไม่เหมือนกันครับ
อย่างเซลล์กล้ามเนื้อเรียบจะเป็นรูปกระสวย มีนิวเคลียส1อัน
เซลล์กล้ามเนื้อลายจะมีนิวเคลียสหลายอันนิวเคลียสหลายอันทำให้มองไกลๆเห็นเป็นลายเลยเรียกกล้ามเนื้อลาย รูปร่างทรงกระบอก
เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจจะมีรูปร่างเป็นแขนง
รูปร่างที่แตกต่างกันเกิดจากการเรียงตัวของmyofibrilซึ่งทำหน้าที่ยืดหด
myofibrilประกอบด้วยmyofilament 2 ชนิดคือ thick filament(myosin) และ thin filament(actin)
ส่วนการเรียงตัวที่ต่างกันก็เนื่องจากการทำงานของกล้ามเนื้อ3อย่างนี้ใช้ประโยชน์ต่างกันครับ
กล้ามเนื้อเรียบก็จะยืดหดแบบperistalsisซึ่งการเรียงตัวของmyofibrilย่อมต้องเยงตัวอย่างเหมาะสมกับการยืดหดแบบperistalsisอยู่แล้ว นั่นเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมกล้ามเนื้อต่างๆถึงได้มีเซลล์ที่มีรูปร่างแตกต่างกัน
ส่วนการที่เราให้กระแสไฟฟ้าไปที่กลางneuronนั้น มันวิ่งไป2ทาง เพราะการกระตุ้นให้เซลล์ประสาททำงานนั้น เราใช้ความต่างศักย์ ซึ่งความต่างศักย์นี้อาจจะเกิดจาก 1.ความแตกต่างกันของประจุทางเคมีทำให้เกิดความต่างศักย์ 2.ให้กระแสไฟฟ้าเพื่อเพิ่มความต่างศักย์ ณ จุดใดจุดหนึ่ง
ในเซลล์ประสาทจะมีIONอยู่หลายตัว ซึ่งIONเหล่านี้อยู่ในอัตราส่วนที่ทำให้ความต่างศักย์ในเซลล์ประสาทมีค่าๆหนึ่งเท่าทั้งเซลล์ และIONเหล่านี้มีอยู่ในเซลล์ประสาททั่วทั้งเซลล์ในอัตราส่วนเดียวกัน และจะเกิดการถ่ายเทความต่างศักย์เมื่อเราให้ความต่างศักย์ถึงระดับthreshold และเมื่อเราให้ไฟฟ้า(เพิ่มความต่างศักย์) มันก็จะทำให้ความต่างศักย์ ณ จุดที่ให้นั้นเพิ่มขึ้น ซึ่งจะทำให้IONในเซลล์ประสาทนั้นพยายามจะจัดเรียงตัวใหม่เพื่อนำความต่างศักย์กระจายออกไปทุกทิศทางด้วยกลไกเดียวกันและความเร็วเท่ากัน เพื่อรักษาความสมดุลของความต่างศักย์ในเซลล์ให้มีค่าเท่าเดิม เพราะปกติเซลล์ประสาทจะมีค่าความต่างศักย์ค่านึงเท่าๆกันตั้งแต่ cell body ถึง synapse
นึกเอาง่ายๆนะครับ เปรียบเซลล์ประสาทเหมือนท่อน้ำท่อนึง ที่มีน้ำอยู่ 10 ลิตร เมื่อเราเทน้ำลงไปในท่ออีก20ลิตร ณ ตำแหน่งกลางท่อ ช่วงแรกระดับน้ำตรงที่เราเทลงไปมันจะต้องมีระดับสูงขึ้น(เพียงเสี้ยววินาที)และน้ำที่เราเทจะไหลไปยัง2ฝั่งของท่อเพื่อให้ระดับน้ำทั้งหมดในท่ออยู่ในจุดสมดุลและระดับน้ำเท่ากันทุกส่วน มันคือการรักษาสมดุลของธรรมชาติครับ